Notice: Function _load_textdomain_just_in_time was called incorrectly. Translation loading for the kirki domain was triggered too early. This is usually an indicator for some code in the plugin or theme running too early. Translations should be loaded at the init action or later. โปรดดู การแก้ข้อผิดพลาดใน WordPress สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม (ข้อความนี้ถูกเพิ่มมาในรุ่น 6.7.0.) in /home/prosecur/domains/prosecureintertech.com/public_html/wp-includes/functions.php on line 6114
ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ – โปรซีเคียวอินเตอร์เทค

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
14/06/2017 1 Comment เกร็ดความรู้, แจ้งเตือนอัคคีภัย สุนทร กุลบุญญา

คือระบบที่สามารถตรวจจับการเกิดเหตุเพลิงไหม้ และ แจ้งผลให้ผู้อยู่ในอาคารทราบ โดยอัตโนมัติระบบที่ดีจะต้องตรวจจับและแจ้งเหตุได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และ มีความเชื่อถือได้สูง เพื่อให้ผู้อยู่ภายในอาคารสถานที่มีโอกาสดับไฟในระยะลุกไหม้เริ่มต้นได้มากขึ้น และ มีโอกาสที่จะอพยพ หลบหนีไฟออกจากอาคารสถานที่ไปยังที่ปลอดภัยได้มากที่สุด ซึ่งจะเป็นผลให้ลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินได้มาก การทำงานของระบบแจ้งเตือนเหตุเพลิงไหม้ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้หรือมีกลุ่มควันเกิดขึ้น จะถูกตรวจจับด้วยอุปกรณ์ตรวจจับควันหรือความร้อนและส่งสัญญาณไปยังตู้ควบคุม ตู้ควบคุมก็จะส่งสัญญาณ ไปยังอุปกรณ์แจ้งเตือน เพื่อแจ้งเตือนเหตุเพลิงไหม้ต่อไป การนำเอาระบบอุปกรณ์สัญญาณแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัย มาติดตั้งไว้ภายในสถานที่ เพื่อให้คนภายในสามารถที่รับรู้ถึงเหตุการณ์ล่วงหน้าก่อนที่เหตุเพลิงไฟจะลุกลาม และอพยพออกจากภายในสถานที่เกิดเหตุได้ทันการก่อนที่จะไม่สามารถจะระงับเหตุเพลิงไหม้ได้ โดยที่การติดตั้งระบบอุปกรณ์สัญญาณแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัยนี้จะช่วยให้เจ้าของอาคารสถานที่ต่างๆ ลดการสูญเสียชีวิต ของผู้ที่อยู่ในอาคารสถานที่ และ ลดการสูญเสียทรัพย์สินต่างๆภายในอาคารสถานที่ได้เป็นอย่างดี

ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

แหล่งจ่ายไฟหลัก

ปกติ แหล่งจ่ายไฟหลัก จะเป็นไฟฟ้าจากการไฟฟ้า 220 โวลต์ มีพิกัดเพียงพอที่จะจ่ายไฟให้ระบบได้พิกัดแหล่งจ่ายไฟจะกำหนดจากโหลดที่ต่อ ใช้ไฟจากแหล่งจ่ายไฟซึ่งมักจะประกอบด้วยตัวระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้และ แบตเตอรี่

แหล่งจ่ายไฟสำรอง

ปกติแหล่งจ่ายไฟสำรองคือแบตเตอรี่ มีพิกัดเพียงพอที่จะจ่ายไฟให้ระบบได้ในกรณีที่แหล่งจ่ายไฟหลักเกิดการขัด ข้อง แบตเตอรี่ที่ประจุเต็ม เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักดับ ในสภาวะปกติ ต้องจ่ายไฟได้ไม่น้อยกว่า 24 ชม. รวมทั้งในสภาวะแจ้งเหตุ ต้องจ่ายไฟได้อีกไม่น้อยกว่า 15 นาที มีพิกัดไม่น้อยกว่า 125% ของค่าที่คำนวณได้

ตู้ควบคุมและอุปกรณ์แจ้งเตือน

–  ตู้ควบคุมและแจ้งเหตุเพลิงไหม้

      1. ตู้ควบคุมชนิดทั่วไป (Conventional)
      2. ตู้ควบคุมชนิดระบุตำแหน่งได้ (Addressable)

–  อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ

ทำหน้าที่แจ้งให้ตู้ควบคุมทราบการเกิดเหตุ เริ่มทำงานจากบุคคลด้วยการดึง หรือทุบกระจกให้แตก การปรับตั้งใหม่ทำได้โดยใช้กุญแจไข หรือเปลี่ยนกระจกใหม่

–  อุปกรณ์เริ่มสัญญาณอัตโนมัติ

1.  อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector)
2.  อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)

3.  อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนและควัน (Smoke And Heat Detector)

 

–  อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ

1.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียง
2.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยแสง
Leave Comment
  1. 1

    ศศิพัชร คิดการ

    สวัสดีครับผม ศศิพัชร คิดการ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ขอความอนุเคราะห์ขอการตรวจตู้ควบคุมระบบ แจ้งเตือนอัคคีภัย
    ที่อยู่ เลขที่ 15/3 หมู่ที่ 7 ซอย วัดสลุด ถนน บางนา-ตราด ตำบล บางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
    เบอร์ติดต่อ 0583992422

    ตอบกลับ

Leave a reply

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

https://cdc.upi.edu/storage/-/copacobana99/ https://biffkids.com/ https://translator.fiba3x3.com/tambang99/ https://products.inmar.com/tambang99/ https://redirect.compreconfie.com.br/tambang99/ https://app2.clearsale.com.br/tambang99/ https://cdc.upi.edu/storage/-/copacobana99/